จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตามกฎหมายไทย ต้องรู้อะไรบ้าง
หลักการสำคัญของกฎหมายเครื่องหมายการค้าไทยคือ คำต่าง ๆ ที่อ้างอิงถึงคุณภาพหรือลักษณะของสินค้าโดยตรงจะไม่ถือว่ามีความบ่งเฉพาะและไม่สามารถจดทะเบียนเป็นเครื่องหมายการค้าได้ ตามมาตรา 7(2) แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 อย่างไรก็ตาม มาตรา 7 วรรคสาม ยังระบุด้วยว่า
การจำกัดกรรมสิทธิ์ของชาวต่างชาติ: การแก้ไขพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
เมื่อเร็วๆ นี้ รัฐบาลไทยได้ประกาศแผนการที่จะทำให้ประเทศไทยเป็นเมืองหลวงทางการเงินของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมามีการประกาศว่า กระทรวงพาณิชย์กำลังทบทวนว่าจะกระชับคำจำกัดความของธุรกิจที่คนต่างชาติเป็นเจ้าของในพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวหรือไม่
เมื่อต้องเปิดบริษัทในประเทศไทย จำเป็นต้องรู้อะไรบ้าง
ชาวต่างชาติอยากจะเข้ามาเปิดธุรกิจในประเทศไทยด้วยเหตุผลหลายประการ การจัดตั้งบริษัทในประเทศไทยอาจช่วยให้ชาวต่างชาติซื้ออสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย อาศัยอยู่ในประเทศไทย หรือทำงานในประเทศไทยได้ รัฐบาลไทยต้องการให้เจตนารมณ์หลักในการจัดตั้งบริษัทเพื่อเป็นการสร้างธุรกิจใหม่ ๆ เพื่อหารายได้และสนับสนุนเศรษฐกิจไทย
ปิดกิจการในไทย ต้องรู้อะไรบ้าง
การเริ่มทำธุรกิจและดำเนินธุรกิจในประเทศไทยถือเป็นความท้าทายสำหรับชาวต่างชาติอย่างยิ่ง กระบวนการในการดำเนินธุรกิจในประเทศไทยนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก กระบวนการก่อตั้งบริษัท การบริหารจัดการสาธารณูปโภค และการว่าจ้างพนักงาน ล้วนแต่ต้องเดินทางไปกรอกแบบฟอร์มที่หน่วยงานของรัฐ นอกจากนี้ยังเป็นเรื่องยุ่งยากที่จะจ้างงานในตลาดแรงงานที่คับคั่ง แม้ว่าธุรกิจจะดำเนินไปอย่างต่อเนื่องแล้วก็ตาม ความขัดแย้งทางวัฒนธรรมก็อาจนำไปสู่ความขัดแย้งกับพนักงานและลูกค้าได้ นอกเหนือจากการบังคับใช้สัญญาและการจัดการกับระบบราชการในภาษาต่างประเทศอีกด้วย
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติสำหรับบริษัทต่างชาติ ที่ต้องการจัดตั้งสำนักงานตัวแทนในไทย
ก่อนหน้านี้เราได้พูดถึงลักษณะและคุณลักษณะสำคัญของสำนักงานตัวแทนตามที่กฎหมายไทยกำหนด รวมถึงวัตถุประสงค์หลักและกิจกรรมที่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินการได้ ในบทความนี้ เราจะกล่าวถึงกฎระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับแนวทางการจัดตั้งสำนักงานตัวแทนของบริษัทต่างชาติในประเทศไทย โดยทั่วไป สำนักงานตัวแทนจะจัดตั้งขึ้นได้ก็ต่อเมื่อรัฐบาลที่ออกในอนุญาต ว่าด้วย “ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว” ภายใต้มาตรา 17 ของพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการของรัฐที่
แนวทางในการจัดตั้งสำนักงานตัวแทนในประเทศไทย
“สำนักงานตัวแทน” เป็นรูปแบบองค์กรทางธุรกิจหนึ่งที่สำคัญในประเทศไทย เนื่องจากช่วยอำนวยความสะดวกในการนำเข้าและส่งออกสินค้าของบริษัทจากต่างประเทศ สำนักงานตัวแทนมีลักษณะดังต่อไปนี้:
1. ไม่ได้รับรายได้จากการให้บริการ
2. ไม่สามารถรับคำสั่งซื้อหรือขายหรือเจรจาธุรกิจกับบุคคลที่สามได้
3. สำนักงานใหญ่เป็นผู้ที่รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด
4. ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลใด ๆ ยกเว้นดอกเบี้ยเงินคงเหลือที่ได้รับจากสำนักงานใหญ่ที่ฝากเข้าบัญชีธนาคาร