Category: กฎหมายอาญา

การยุติการตั้งครรภ์ในประเทศไทย: กฎหมายใหม่ที่มีผลบังคับใช้กฎหมายในปัจจุบัน

มาตรา 301 แห่งประมวลกฎหมายอาญา การทำแท้งเป็นสิ่งผิดกฎหมายทั้งสิ้นเว้นแต่การตั้งครรภ์ส่งผลอันตรายต่อสุขภาพหรือจิตใจของผู้ตั้งครรภ์ หรือผู้ตั้งครรภ์มีอายุต่ำกว่า 15 ปี หรือเป็นเหยื่อเนื่องจากการข่มขืน หรือตัวอ่อนในครรภ์ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเกิดความบกพร่องหรืออาจพิการร้ายแรง โดยมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท และหากมีอายุครรภ์ที่มากกว่า 12 สัปดาห์ มีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือนและปรับไม่เกิน 10,000 บาท

อ่านต่อไป

อายุความยินยอมทางเพศตามกฎหมายไทย

ในประเทศไทย อายุความยินยอมได้กำหนดไว้ที่ 15 ปี ซึ่งหมายความว่าบุคคลที่มีอายุ 14 ปีหรือต่ำกว่าไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ให้สามารถให้ความยินยอมร่วมกิจกรรมทางเพศทุกรูปแบบ หากบุคคลที่อายุมากกว่าเกณฑ์ มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศกับบุคคลที่อายุต่ำกว่าเกณฑ์ อาจถือเป็น ‘การข่มขืนตามกฎหมาย’ และผู้ที่อายุมากกว่าอาจถูกตั้งข้อหาล่วงละเมิดทางเพศได้

อ่านต่อไป

การค้าประเวณีถูกกฎหมายในประเทศไทยหรือไม่?

ปฏิเสธไม่ได้ว่าประเทศไทยเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในด้านการค้าประเวณี โดยดึงดูดผู้คนมากมายจากทั่วทุกมุมโลกที่แสวงหาบริการจากผู้ให้บริการทางเพศในไทย และยังเป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่ามหาศาลต่อเศรษฐกิจไทย แต่ถึงอย่างนั้น ยังคงมีการถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับกฎระเบียบและการจัดการในอุตสาหกรรมนี้ ประเด็นหลักคือการมอบความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นแก่ผู้ให้บริการทางเพศ รวมถึงการปราบปรามการค้ามนุษย์และการแสวงหาประโยชน์โดยผู้มีอำนาจ

อ่านต่อไป

กฎหมายและระเบียบกัญชาของประเทศไทย ปี 2565

“กัญชา” เป็นพืชที่ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ และคนไทยทั่วไปรู้จักกันดีในฐานะพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการบำบัดโรค และมีการนำมาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทยมาอย่างยาวนาน อย่างไรก็ตาม การประกาศใช้พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้จัดให้กัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษ จึงทำให้กัญชากลายเป็นพืชสมุนไพรที่ผิดกฎหมาย 

อ่านต่อไป

วิธีพิจารณาคดีอาญาของไทย: พยานบอกเล่า

คำรับสารภาพของจำเลยแก่ตำรวจ หลังจากที่เขาหรือเธอถูกจับกุมอยู่ภายใต้ข้อห้ามรับฟังพยานบอกเล่าและไม่มีน้ำหนักใด ๆ ต่อศาลในระหว่างการพิจารณาคดี นอกจากนี้ในกรณีที่ไม่มีประจักษ์พยานอันจะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยกระทำความผิดทางอาญาจริง บันทึกการถูกจับกุมของจำเลย เช่นเดียวกับบันทึกคำรับสารภาพของจำเลยถือเป็นพยานบอกเล่าและต้องห้ามมิให้รับฟัง

อ่านต่อไป

Search the blog