Category: กฎหมายแพ่ง
การสืบทอดมรดกตามพินัยกรรมภายใต้กฎหมายประเทศไทย
การสืบมรดกเป็นวิธีหนึ่งในการได้มาซึ่งทรัพย์สิน รวมถึงสิทธิและหน้าที่ของบุคคล(ผู้ทำพินัยกรรม) จะถูกส่งต่อไปยังทายาท ผู้รับพินัยกรรม ผู้ได้รับมรดก เมื่อผู้ทำพินัยกรรมถึงแก่ความตาย การสืบมรดกในประเทศไทยมีแบบการรับมรดกตามพินัยกรรมและการรับมรดกตามกฎหมาย
ว่าด้วย “ร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต” ในประเทศไทย
เดือนกรกฎาคมในปีที่ผ่านมา คณะรัฐมนตรีไทยได้อนุมัติร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต ซึ่งกระทรวงยุติธรรมเสนอให้คู่รักเพศเดียวกันสามารถจดทะเบียนคู่ชีวิตได้ โดยมีการส่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวไปยังคณะกรรมาธิการประสานงานสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบแล้วจึงจะส่งต่อไปให้รัฐสภาให้สัตยาบันต่อไป หากรัฐสภาให้สัตยาบันแล้ว
ความรู้เบื้องต้นว่าด้วย “เหตุสุดวิสัย” (Force Majeure)
“เหตุสุดวิสัย” (Force Majeure) หรือที่เรียกว่า “ภัยธรรมชาติ” มักจะพูดถึงสถานการณ์คู่สัญญาในสัญญาไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาหรือพันธะผูกพันได้ และในหลายกรณีเกิดจากสถานการณ์ที่ยากลำบากอันเนื่องจากสถานการณ์นั้น ๆ อยู่นอกเหนือการควบคุมของคู่สัญญา ซึ่งโดยปกติแล้ว คู่สัญญาฝ่ายที่เผชิญกับเหตุสุดวิสัยและไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาได้จากเหตุสุดวิสัยจะได้รับการคุ้มครองและเยียวยาเมื่อปฏิบัติ
อายุความยินยอมทางเพศตามกฎหมายไทย
ในประเทศไทย อายุความยินยอมได้กำหนดไว้ที่ 15 ปี ซึ่งหมายความว่าบุคคลที่มีอายุ 14 ปีหรือต่ำกว่าไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ให้สามารถให้ความยินยอมร่วมกิจกรรมทางเพศทุกรูปแบบ หากบุคคลที่อายุมากกว่าเกณฑ์ มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศกับบุคคลที่อายุต่ำกว่าเกณฑ์ อาจถือเป็น ‘การข่มขืนตามกฎหมาย’ และผู้ที่อายุมากกว่าอาจถูกตั้งข้อหาล่วงละเมิดทางเพศได้
การสมรสของเพศเดียวกันถูกกฎหมายในประเทศไทยหรือไม่?
ประเทศไทยมีชื่อเสียงในฐานะจุดหมายปลายทางสำหรับนักท่องเที่ยว ที่ต้องการความเป็นเสรีในการแสดงออก โดยเฉพาะกลุ่มชาว LGBTQ+ จากทั่วทุกมุมโลก อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความขัดแย้งที่เป็นประเด็นสำคัญอยู่ เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไทยนับถือศาสนาพุทธ แม้ว่าสังคมไทยจะถือว่าเปิดกว้างสำหรับชุมชนเพศทางเลือก แต่ความเป็นจริงบุคคลเหล่านี้กลับต้องพบกับอุปสรรคและการเลือกปฏิบัติมากมาย
การเพิกถอนมติที่ประชุม
เกณฑ์การเพิกถอนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นบริษัทจำกัด คือการลงมติโดยเจตนาไม่สุจริต มาตรา 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติว่า “ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการชำระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนต้องกระทำโดยสุจริต” นอกจากนี้ มาตราที่ 421 แห่งประมวลกฎหมายฉบับเดีบวกันได้บัญญัติ“การใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้น ท่านว่าเป็นการอันมิชอบด้วยกฎหมาย” พิจารณาบทบัญญัติทางกฎหมายเหล่านี้รวมกันได้ความว่า หากมติบริษัทโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น ถือว่ามิชอบด้วยกฎหมายหรือกระทำโดยเจตนาไม่สุจริตของผู้ถือหุ้น อาจถูกศาลสั่งให้เป็นโมฆะ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 186-188/2477 ศาลได้วางหลักเกณฑ์ว่า