Author Archive: ทนายความประเทศไทย

สยาม ลีเกิ้ล เป็นสำนักงานกฎหมายระหว่างประเทศซึ่งประกอบไปด้วยทนายความผู้มีประสบการณ์ทั้งกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ สำนักงานในประเทศไทยนี้ให้บริการทางกฎหมายอย่างครอบคลุมต่อลูกความท้องถิ่นและต่างประเทศสำหรับคดีความ เช่น คดีแพ่งและอาญา ข้อพิพาททางแรงงาน คดีทางการค้า การหย่า การรับเป็นบุตร การส่งผู้ร้ายข้ามแดน ฉ้อโกง และคดีเกี่ยวกับยาเสพย์ติด ความเชี่ยวชาญอีกด้านหนึ่งของสำนักงานคือ บริการเกี่ยวกับกฎหมายบริษัท เช่น การจดทะเบียนบริษัท และการส่งเสริมการลงทุนในประเทศไทย กฎหมายครอบครัว ทรัพย์สิน และการสืบสวนส่วนบุคคล

การขายตรงภายใต้พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว

การขายตรงหรือการตลาดทางตรงโดยทั่วไปหมายถึงการขายหรือการทำการตลาดสินค้าและบริการโดยตัวแทนขายอิสระให้กับผู้บริโภคโดยตรงที่บ้านหรือที่ทำงาน ในประเทศไทย พระราชบัญญัติการขายตรงและการตลาด พ.ศ. 2545 ได้ให้คำจำกัดความไว้ดังนี้

อ่านต่อไป

ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว: สำนักงานภูมิภาค

บริษัทข้ามชาติต่างประเทศที่ดำเนินธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนหรือเอเชียอาจพิจารณาจัดตั้งสำนักงานภูมิภาคในประเทศไทยเพื่อเป็นศูนย์กลางสนับสนุนเครือข่ายองค์กรของตนในภูมิภาค อย่างไรก็ตาม สำนักงานภูมิภาคถือเป็นธุรกิจ “บริการ” ตามคำจำกัดความของประเภท (21) ของบัญชี 3 ท้ายพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 ดังนั้น บริษัทต่างชาติที่จะจัดตั้งสำนักงานภูมิภาคในประเทศไทยจะต้องยื่นขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว

อ่านต่อไป

แนวทางแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี สำหรับนักลงทุนที่ขอสิทธิประโยชน์บีโอไอไทย

นักลงทุนต่างชาติในประเทศไทยที่จะยื่นขอรับใบอนุญาตเพื่อประกอบธุรกิจควบคุมตามกฎหมายการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 จะต้องจัดทำแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี มาตรา 5 ของพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวกำหนดให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่ต้องพิจารณาในการอนุญาตให้ชาวต่างชาติมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางธุรกิจที่ถูกจำกัด

อ่านต่อไป

ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวในประเทศไทย: บริการให้เช่าต่าง ๆ

บริการให้เช่าอยู่ในหมวดหมู่ (21) ของบัญชี 3 ท้ายพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 ดังนั้น ชาวต่างชาติที่วางแผนจะประกอบธุรกิจให้เช่าในประเทศไทยจะต้องยื่นขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวจากอธิบดีกรมธุรกิจการค้าและคณะกรรมการพัฒนาการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว ตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติ

อ่านต่อไป

การควบรวมกิจการ: ผลกระทบทางภาษีเงินได้นิติบุคคล

ตามประมวลรัษฎากรของประเทศไทย ภาษีเงินได้นิติบุคคลและผลกระทบทางภาษีเงินได้อื่น ๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากการควบรวมกิจการมีอะไรบ้าง หลักการพื้นฐานภายใต้กฎหมายไทยคือ หลังจากการควบรวมกิจการ บริษัทที่ควบรวมกันจะได้รับสิทธิและมีความรับผิดตามบริษัทเดิม

อ่านต่อไป

การควบรวมกิจการ: ผลกระทบว่าด้วยภาษีมูลค่าเพิ่มภายใต้ประมวลรัษฎากร

ภายใต้ประมวลรัษฎากรของประเทศไทย ผลกระทบว่าด้วยภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) จำเพาะ ที่เกิดขึ้นหลังจากการควบรวมกิจการมีอะไรบ้าง หลักการทั่วไปของกฎหมายตามมาตรา 152 และมาตรา 153 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 คือ การควบรวมบริษัททำให้บริษัทเดิมหมดสิ้นความเป็นนิติบุคคลลง

อ่านต่อไป