Author Archive: ทนายความประเทศไทย

สยาม ลีเกิ้ล เป็นสำนักงานกฎหมายระหว่างประเทศซึ่งประกอบไปด้วยทนายความผู้มีประสบการณ์ทั้งกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ สำนักงานในประเทศไทยนี้ให้บริการทางกฎหมายอย่างครอบคลุมต่อลูกความท้องถิ่นและต่างประเทศสำหรับคดีความ เช่น คดีแพ่งและอาญา ข้อพิพาททางแรงงาน คดีทางการค้า การหย่า การรับเป็นบุตร การส่งผู้ร้ายข้ามแดน ฉ้อโกง และคดีเกี่ยวกับยาเสพย์ติด ความเชี่ยวชาญอีกด้านหนึ่งของสำนักงานคือ บริการเกี่ยวกับกฎหมายบริษัท เช่น การจดทะเบียนบริษัท และการส่งเสริมการลงทุนในประเทศไทย กฎหมายครอบครัว ทรัพย์สิน และการสืบสวนส่วนบุคคล

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับสนธิสัญญาทางไมตรี

จุดประสงค์ของบทความนี้ คือการตอบคำถามที่มักถูกยกมาถามเป็นประเด็น โดยลูกความอันเกี่ยวกับสนธิสัญญาทางไมตรี ระหว่างราชอาณาจักรไทย-สหรัฐอเมริกา ที่อนุญาตให้พลเมืองและบริษัทสัญชาติสหรัฐฯ ได้รับการยกเว้นจากข้อจำกัดส่วนใหญ่แห่งพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของชาวต่างชาติ พ.ศ. 2542 แม้ว่าความหมายของสนธิสัญญาทางไมตรีนั้นค่อนข้างจะตรงไปตรงมา

อ่านต่อไป

คำแนะนำเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 0

โดยหลักทั่วไป ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat) ใช้บังคับการขายสินค้าและบริการที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเท่านั้น อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาตามหลักกฎหมายอย่างเคร่งครัด ประมวลรัษฎากรไทยใช้ระบบการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในการขายสินค้าและบริการที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ แต่จะใช้อัตราภาษีร้อยละ 0 แทนที่จะยกเว้นภาษีทั้งหมด

อ่านต่อไป

บทนำการวางแผนการถ่ายโอนเทคโนโลยี

นักลงทุนชาวต่างชาติในประเทศไทย ผู้ที่จะลงทุนส่วนใหญ่ในการประกอบธุรกิจที่มีความเสี่ยงแต่สามารถทำกำไรได้ มีทางเลือกในการยื่นขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจชาวต่างชาติ หากธุรกิจเช่นว่านั้นถูกจำกัดโดยภายใต้พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจต่างชาติ พ.ศ. 2542 อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การยื่นขอใบอนุญาตได้รับการอนุมัติ ผู้ยื่นคำร้องขอใบอนุญาตต้องเสนอแผนการถ่ายโอนเทคโนโลยี

อ่านต่อไป

ผลกระทบของภาษีเงินได้สำหรับการให้กู้ยืมระหว่างบริษัทเอกชน

แนวคำวินิจฉันกรมสรรพากรลงวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558 ได้ให้คำแนะนำเรื่องผลกระทบของภาษีเงินได้สำหรับการให้กู้ยืมระหว่างบริษัทเอกชน จากข้อเท็จจริง บริษัท ก. เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด จดทะเบียนนิติบุคคล ไม่ได้ระบุจำนวนทุนจดทะเบียน โดยไม่มีสำนักงานสาขา มีรอบระยะเวลาบัญชีเริ่มวันที่

อ่านต่อไป

พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของชาวต่างชาติ: การฝากขายสินค้าในประเทศไทย

พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของชาวต่างชาติ พ.ศ. 2542 เป็นกฎหมายพื้นฐานในประเทศไทยที่ทำหน้าที่ในการจำกัดการลงทุนและการประกอบธุรกิจของชาวต่างชาติภายในประเทศ พระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดอุตสาหกรรมเฉพาะหรือประเภทของการประกอบธุรกิจที่ห้ามมิให้ชาวต่างชาติประกอบธุรกิจอย่างเด็ดขาด

อ่านต่อไป

สัญญาซื้อและขายกิจการไทย

ในการซื้อขายกิจการในประเทศไทย ผู้ซื้อและผู้ขายลงนามในสัญญาเกี่ยวกับธุรกรรมนั้น นอกจากนี้ ลักษณะเฉพาะของสัญญาจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่าได้จดทะเบียนเป็นกิจการประเภทใด สินทรัพย์ใดบ้างเป็นของธุรกิจ ในบทความนี้ เราจะทบทวนปัจจัยสำคัญในการทำสัญญาการซื้อขายกิจการไทยในสถานการณ์ที่แตกต่างกันเล็กน้อย ปัจจัยแรกคือ ควรสังเกตว่ามีกระบวนการทางกฎหมายต่างๆ สำหรับการซื้อขายกิจการ ภายใต้กฎหมายไทย ในบทความนี้ เราจะกล่าวถึงสถานการณ์ทั่วไป

อ่านต่อไป