
Author Archive: ทนายความประเทศไทย
สยาม ลีเกิ้ล เป็นสำนักงานกฎหมายระหว่างประเทศซึ่งประกอบไปด้วยทนายความผู้มีประสบการณ์ทั้งกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ สำนักงานในประเทศไทยนี้ให้บริการทางกฎหมายอย่างครอบคลุมต่อลูกความท้องถิ่นและต่างประเทศสำหรับคดีความ เช่น คดีแพ่งและอาญา ข้อพิพาททางแรงงาน คดีทางการค้า การหย่า การรับเป็นบุตร การส่งผู้ร้ายข้ามแดน ฉ้อโกง และคดีเกี่ยวกับยาเสพย์ติด ความเชี่ยวชาญอีกด้านหนึ่งของสำนักงานคือ บริการเกี่ยวกับกฎหมายบริษัท เช่น การจดทะเบียนบริษัท และการส่งเสริมการลงทุนในประเทศไทย กฎหมายครอบครัว ทรัพย์สิน และการสืบสวนส่วนบุคคล
การดำเนินธุรกิจเป็นธรุกิจต่างชาติในประเทศไทย : ข้อดีและข้อเสีย
เมื่อทำธุรกิจในประเทศไทย เรามีตัวเลือกการดำเนินธุรกิจในการร่วมทุนที่มีเจ้าของเป็นชาวไทยซะส่วนใหญ่หรือโดยส่วนใหญ่เป็นบริษัทที่เป็นเจ้าของหรือเป็นของชาวต่างชาติแต่เพียงผู้เดียว แม้ว่ากฎหมายไทยจะยับยั้งวิธีที่ชาวต่างชาติสามารถดำเนินธุรกิจได้ แต่ก็ยังอนุญาตให้ชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นเจ้าของธุรกิจและผู้ประกอบการชาวต่างชาติสามารถประกอบธุรกิจได้ในบางกรณี
การชำระบัญชีบริษัท: การปิดบริษัทไทยจำกัด
ในบทความก่อนหน้านี้เราได้กล่าวถึงพื้นฐานทางกฎหมายที่ถูกกำหนดไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การลงมติพิเศษและขั้นตอนที่ต้องทำในการจดทะเบียนเลิกบริษัทไทย ในบทสุดท้ายของการเลิกบริษัทไทยจำกัด เราจะอธิบายขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการ คือ การชำระบัญชีบริษัท
เหตุผลการหย่าร้างในประเทศไทย
เมื่อการแต่งงานกลายเป็นอื่น ไม่ว่าคู่สมรสจะพยายามรักษาชีวิตคู่มากแค่ไหน ก็ยังมีหลายครั้งที่การปรับเข้าหากันนั้นไม่ได้ผล ทางออกสำหรับปัญหานี้ก็คือ การฟ้องหย่า วิธีการหย่าร้างในประเทศไทยที่เป็นที่ยอมรับ มีกฎหมายให้แนวทางในการยุติหรือระงับข้อพิพาทและข้อตกลงต่างๆ หลังจากการหย่าร้าง
การสืบทอดมรดกตามพินัยกรรมภายใต้กฎหมายประเทศไทย
การสืบมรดกเป็นวิธีหนึ่งในการได้มาซึ่งทรัพย์สิน รวมถึงสิทธิและหน้าที่ของบุคคล(ผู้ทำพินัยกรรม) จะถูกส่งต่อไปยังทายาท ผู้รับพินัยกรรม ผู้ได้รับมรดก เมื่อผู้ทำพินัยกรรมถึงแก่ความตาย การสืบมรดกในประเทศไทยมีแบบการรับมรดกตามพินัยกรรมและการรับมรดกตามกฎหมาย
สกท. และพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
บริษัทต่างชาติที่จดทะเบียนในประเทศไทยมีสิทธิที่จะได้รับการส่งเสริมภายใต้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนประเทศไทย นอกจากนี้หากมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนสามารถยื่นขอ “ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว” ตามมาตรา 12 ซึ่งอนุญาตให้ผู้ถือหุ้นต่างชาติส่วนใหญ่เป็นเจ้าของบริษัทได้แต่จะต้องเป็นบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมเท่านั้น
สกท.สนับสนุนอุตสาหกรรมภาพยนตร์
ประเทศไทยรุ่งเรืองในฐานะจุดหมายปลายทางของบริษัทผู้ผลิตภาพยนตร์ ด้วยทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงาม สถานที่แปลกใหม่และต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่า ทำให้เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้สร้างภาพยนตร์ชาวต่างชาติเป็นจำนวนมาก